The Definitive Guide to ศูนย์วิจัยกสิกรไทย
The Definitive Guide to ศูนย์วิจัยกสิกรไทย
Blog Article
ปัญหาสิ่งแวดล้อมและการปรับตัวของผู้บริโภค
ตลาดการเงินและสถาบันการเงิน บทวิเคราะห์
ตลาดการเงินและสถาบันการเงิน ตลาดการเงิน
ตั้งแต่ปัจจัยเรื่องต้นทุนทางธุรกิจที่ยังทรงตัวสูง ทั้งราคาวัตถุดิบ ค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภค ค่าเช่าพื้นที่ เป็นต้น รวมถึงการแข่งขันที่รุนแรงระหว่างร้านอาหารในเกือบทุกประเภทและระดับราคา นอกจากนี้ เทรนด์ความต้องการของผู้บริโภคที่ไม่ได้มีรูปแบบตายตัวและเปลี่ยนแปลงตามกระแสอย่างต่อเนื่อง
ตั้งหลักให้ถูกในการรับมือคลื่นสินค้าและทุนจีน
ทำไมอิสราเอลประท้วงใหญ่ ชัตดาวน์ประเทศ กดดันรัฐบาลเร่งช่วยตัวประกัน
“เงินบาททรงตัวในกรอบแคบ ขณะที่ ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวตามปัจจัยภายนอกประเทศ” ... อ่านต่อ
ที่มา: ศูนย์วิจัยกสิกรไทย โดยสรุป ศูนย์วิจัยกสิกรไทย มองว่า การแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน อีกทั้งควรต้องได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ ทั้งมาตรการจูงใจให้ผู้ผลิตหันมาผลิตสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น เพื่อให้ผู้บริโภคมีตัวเลือกซื้อผลิตภัณฑ์หรือบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในราคาที่เพิ่มขึ้นจากราคาปกติในกรอบที่ผู้บริโภคยอมรับได้ หรือการกำหนดมาตรการแนวบังคับ เช่น การห้ามใช้พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง เพื่อให้ผู้ผลิตปรับเปลี่ยนการใช้ผลิตภัณฑ์บรรจุสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ปัจจุบันผู้บริโภคมีพฤติกรรมที่ให้ความสนใจต่อสถานการณ์ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมอยู่แล้ว จึงมีการให้ความสำคัญต่อการเลือกซื้อสินค้าหรือบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น และยินดีจ่ายเงินด้วยราคาที่มากขึ้นในสินค้าหรือบริการดังกล่าวเมื่อเทียบกับสินค้าทั่วไป หากสินค้าหรือบริการดังกล่าวได้รับการยอมรับ และผู้บริโภคให้คุณค่าว่าสามารถช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมได้จริง
ตลาดการเงินและสถาบันการเงิน บทวิเคราะห์
อย่างไรก็ตามไม่ใช่ทุกประเภทร้านอาหารที่กลับมาเติบโต โดยหากเจาะไปที่แต่ละประเภทจะพบว่า
การขนส่งสาธารณะที่ควรเร่งพัฒนาให้ดีขึ้น
ทั้งนี้ ในปัจจุบันผู้ประกอบการที่เริ่มเตรียมความพร้อมรับมือกับมาตรการเหล่านี้จำกัดอยู่ที่ธุรกิจรายใหญ่เป็นหลัก ขณะที่ภาครัฐจำเป็นต้องสร้างความตื่นตัวสำหรับกิจการขนาดเล็กลงไป หรือกิจการที่อยู่ในห่วงโซ่อุปทานของธุรกิจที่ได้รับผลกระทบ รวมถึงการกำหนดมาตรฐานภายในประเทศให้ชัดเจน สอดคล้องกับการดำเนินการสากล เพื่อให้ง่ายและเอื้อต่อการปรับตัวของภาคธุรกิจ ซึ่งอาจเป็นมาตรการทางภาษี แต่ก็ย่อมซ้ำเติมปัญหาสถานะทางการคลังในอนาคต หรือเป็นมาตรการภาคบังคับ ซึ่งคงต้องขบคิดประเด็นด้านการแบกรับต้นทุนส่วนเพิ่มของผู้ประกอบการ และแรงกดดันต่อรัฐบาลที่จะเพิ่มขึ้นกว่ามาตรการภาคสมัครใจอย่างยากจะหลีกเลี่ยง
ทั้งนี้ เศรษฐกิจไทยที่เติบโตชะลอลง คงจะเพิ่มความเป็นไปได้ที่ธนาคารแห่งประเทศไทย ศูนย์วิจัยกสิกรไทย (ธปท.
“เงินบาทอ่อนค่าเล็กน้อย ขณะที่ ดัชนีตลาดหุ้นไทยกลับมาปิดใกล้เคียงสัปดาห์ก่อนหน้า” เงินบาทอ่อนค่าเล็กน้อย โดยเงินบาทแข็งค่าขึ้นช่วงสั้นๆ ต้นสัปดาห์ ขณะที่ เงินดอลลาร์ฯ เผชิญแรงกดดันจากตัวเลขยอดขายบ้านใหม่ของสหรัฐฯ ที่ต่ำกว่าที่คาด และการปรับตัวลงของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ อย่างไรก็ดี เงินบาทกลับมาอ่อนค่าในช่วงต่อมา หลังถ้อยแถลงของประธานเฟดเกี่ยวกับเศรษฐกิจและเงินเฟ้อกระตุ้นให้ตลาดเพิ่มน้ำหนักต่อโอกาสการคุมเข้มนโยบายการเงินมากขึ้นของเฟด กระนั้นก็ดี กรอบการฟื้นตัวของเงินดอลลาร์ฯ เริ่มจำกัดลงอีกครั้งในช่วงปลายสัปดาห์ หลังคำกล่าวของประธานเฟดที่ระบุว่ายังไม่พบสัญญาณเงินเฟ้อที่มาจากแรงกดดันของค่าจ้าง ชะลอการคาดการณ์แนวโน้มดอกเบี้ยสหรัฐฯ ขณะที่ ความกังวลต่อนโยบายกีดกันทางการค้าของสหรัฐฯ ก็เป็นปัจจัยลบต่อค่าเงินดอลลาร์ฯ เช่นกัน... อ่านต่อ